Phatthalung Go Green Festival

 Phatthalung Go Green Festival

ปฏิทินกิจกรรมท่องเที่ยวจังหวัดพัทลุง  ๒๕๖๖ เทศกาล งานประเพณี วิถีชุมชน

 

Phatthalung Tourism Activity Calendar 2023 / Festivals, Traditions, Community Ways of Life.

สวดมนต์ข้ามปี เสริมสิริมงคล  ปีใหม่วิถีไทย  /  วันส่งท้ายปีเก่า-ต้อนรับปีใหม่

Praying over the years Enhance the prosperity Thai New Year   / New Year’s Eve – Welcome New Year. 

 

กิจกรรมแลกของขวัญ,การแสดงบนเวที,ตักบาตรปีใหม่

สี่แยกโคลิเซี่ยมพัทลุง

 https://goo.gl/maps/JpFy66QHWqeuWvDA9

เทศบาลเมืองพัทลุง  ๐๗๔ – ๖๑๓๐๐๗  ต่อ ๑๐๔

ประเพณีตรุษจีน

Chinese New Year Festival.

๒๒ มกราคม ๒๕๖๖

 

เทศบาลเมืองพัทลุง  ๐๗๔ – ๖๑๓๐๐๗  ต่อ ๑๐๔

สืบสานตำนานพิธีกรรมสำนักเขาอ้อ /   พิธีทำบุญบูรพาจารย์ แช่ว่าน กินข้าวเหนียวดำ

Inheriting the legend of Khao Or School’s ritual / merit-making ceremony for the great masters, soaking Wan, eating black sticky rice.

 

๒๗-๒๙
มกราคม ๒๕๖๖

พิธีทำบุญบูรพาจารย์
แช่ว่าน กินข้าวเหนียวดำ


วัดเขาอ้อ
  

https://goo.gl/maps/iTdPRaiL1FgVFS1FA

สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพัทลุง
๐๗๔ ๖๑๗๙๕๘

เขาอ้อ  สำนักทิศาปาโมกข์ ตักศิลาไสยเวทย์แดนใต้  ที่สืบทอดสายวิชา ในสมัยก่อนเก่า
บรรดาเกจิอาจารย์ผู้ทรงคุณวิเศษ มักจะมาเรียนสรรพวิชาต่างๆที่วัดเขาอ้อแห่งนี้

 

Khao-Aor is the Southern Magical Institution. In the past, the
magicians normally came to study several magical lesson from this temple. 

ทศกาลล่องเรือทะเลน้อย   / ล่องเรือแลนก  ทะเลดอกไม้บานล้านบัวแดง

Thale Noi Boating Festival / bird boat viewing, a sea of red
lotus blossoms.

 

๑๔ กุมภาพันธ์  ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๖

ห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย   ๐๗๔ ๖๘๕๒๓๐ 

https://goo.gl/maps/rcpvbFPF7UrhU3js

ทะเลน้อย หรืออุทยานนกน้ำทะเลน้อย เขตห้ามล่าสัตว์ป่าแห่งแรกของประเทศไทย ตั้งอยู่อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง เป็นแหล่งทะเลสาบน้ำจืด ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพรรณพืช และ สัตว์ป่ามากมาย ไม่ว่าจะเป็น บัว ,กระจูดหนู, กง,ผักตบชวา สัตว์ป่านกน้ำหลากหลายสายพันธุ์ และ ควายน้ำพื้นที่ทะเลน้อย” เป็นมรดกโลกทางการเกษตร แห่งแรกของไทย   ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเมษายนของทุกๆปี จะเป็นช่วงที่ดีสำหรับการชมนกในทะเลน้อย พบว่ามีนกนานาชนิดหลากหลายทั้งนกอพยพและนกประจำถิ่น นับหมื่นแสนมารวมตัวกัน อีกหนึ่งความมหัศจรรย์  ทะเลน้อย

 

Thale Noi, also known as Thale Noi National Park, is Thailand’s first wildlife sanctuary and a non-hunting area in the Khuan Khanun District of Phatthalung. It is a source of freshwater lakes that are home to a variety of flora and species, including lotus, Krajood-Noo, Kong, common water hyacinth, wild animals, water birds, and Thale Noi water buffaloes, and is Thailand’s first Agricultural World Heritage Site. Every year from February through April, it is a fantastic period for bird watching in Thale Noi, where hundreds of birds, both migratory and resident, converge, which is another marvel in “Thale Noi.”


โนราโรงครู
วัดประดู่หอม ทะเลน้อย
    / วันพุธของสัปดาห์ที่ ๒
เดือน ๔

Nora Rong Khru, Wat Pradu Hom, Thale Noi / Wednesday of the 2nd week of the 4th month.

 

๑-๓ มีนาคม ๒๕๖๖      

วันพุธของสัปดาห์ที่ ๒ เดือน ๔

ณ วัดประดู่หอม ทะเลน้อย  : ๐๘๑ ๕๔๒ ๓๑๒๘   

  https://goo.gl/maps/BeqdcAwRhh7Y4sJW6

โนราโรงครู ประเพณีวัฒนธรรมแห่งความเชื่อ ความศรัทธาของลูกหลานโนรา ที่สืบทอดต่อกันมายาวนาน  งานพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ของคนใต้ที่ต้องอนุรักษ์ไปชั่วลูกชั่วหลาน  กิจกรรมไหว้ครู หรือไหว้ตายายโนรา ซึ่งเป็นบรรพบุรุษ แสดงถึงความกตัญญู -พิธีแก้เหมย (แก้บน) -พิธีครอบเทริด หรือผูกผ้าใหญ่ หรือแต่งพอก ให้กับโนรารุ่นใหม่

 

Nora Rongkru, the local traditions believe, passed down the faith of Nora’s descendants through generations, which is the sacred ritual of the southern people that must be protected. Wai Kru activities include paying Great Grand Nora, the ancestor who demonstrates thanks, doing the Kae-Mei ritual, adorning a tiara rite, or performing Pook Pha Yai or Tang Pok for the new Nora

งานวันคนสานกระจูดโลก / ตลาดน้ำทะเลน้อย 

World Krajood Weaving Day / Thale Noi Market.

 

๒๕ มีนาคม  ๒๕๖๖

ตลาดน้ำทะเลน้อย  

https://goo.gl/maps/GaCjdNYR52F5JKmk9

 

โทร  ๐๘๔ ๓๙๖ ๐๔


งานแห่ผ้าห่มพระบรมธาตุเจดีย์   / วัดพระบรมธาตุเจดีย์เขียนบางแก้ว

Phra Borommathat Chedi Clothes Parade Event,     Wat Phra Borommathat Chedi Khian Bang Kaew.

 

๔ – ๖  มีนาคม ๒๕๖๖ 

แห่ผ้าขึ้นห่มพระบรมธาตุเจดีย์ วัดพระบรมธาตุเจดีย์เขียนบางแก้ว

ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมพิธีเปิดงาน แสง สี เสียง

วัดพระบรมธาตุเจดีย์เขียนบางแก้ว  ๐๙๙ ๗๗๓๒๘๙๔

 https://goo.gl/maps/9rQoUg1dezPgiboz9  

 

 

ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ   เป็นความศรัทธาของพุทธศาสนิกชน  ตามแบบพุทธศาสนาในอินเดีย  โดยยึดเอาพระบรมธาตุเจดีย์ อันเป็นเสมือนตัวแทนของพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งทางใจ  โดยการนำผ้าผืนยาวนิยมใช้สีเหลือง สีแดง และสีขาวจะเขียนภาพเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ ออกบวช ตรัสรู้ ปฐมเทศนา และปรินิพพาน  แล้วจัดเป็นขบวนแห่ ขึ้นไปห่มองค์พระบรมธาตุเจดีย์ เรียกว่า แห่พระบฎขึ้นธาตุ ในวันสำคัญทางศาสนา ถือว่าเป็นการบูชาพระพุทธองค์ เพื่อความเป็นสิริมงคลและความสำเร็จในการดำรงชีว

านโนราภูมิปัญญาแห่งแผ่นดิน

Nora Wisdom of the Land Event.

 

๑๗
-๑๙ มีนาคม  ๒๕๖๖

วัดพระบรมธาตุเจดีย์เขียนบางแก้ว
 ๐๙๙ ๗๗๓๒๘๙๔

 https://goo.gl/maps/h1NqTg9dkkFuFS6p9  

มโนราห์

มโนราห์
หรือ โนรา เป็นศิลปะพื้นเมืองภาคใต้  โดยเชื่อกันว่าโนราเกิดขึ้นครั้งแรกที่
หัวเมืองพัทลุง ปัจจุบันคือ ตำบลบางแก้ว จังหวัดพัทลุง นั่นเอง
จากนั้นแพร่ขยายไปยังหัวเมืองอื่นๆของภาคใต้

 

Manohra or Nora is a traditional southern art.  It’s believed that Nora at first originated
in Phatthalung, which is currently known as Bang Kaew Sub-district,
Phatthalung. Then, it spread to other Southern districts.

งานวันอนุรักษ์มรดกไทยและมหกรรมชิงแชมป์หนังตะลุง

Thai Heritage Conservation Day and Nang Talung Championship.

 

๑ – ๑๐ เมษายน  ๒๕๖๖

ณ สวนสาธารณเทศบาลเมืองพัทลุง 

 https://goo.gl/maps/fK3SJ9XjvRZtZH3v7  

สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพัทลุง ๐๗๔ ๖๑๗๙๕๘

 

งานวันอนุรักษ์มรดกไทยและงานมหกรรมชิงแชมป์หนังตะลุง เป็นงานที่จัดขึ้นในช่วงต้นเดือนเมษายนของทุกปี กิจกรรมภายในงาน จะเป็นการจัดนิทรรศการ การละเล่นพื้นบ้านปักษ์ใต้ และการประกวดหนังตะลุง ซึ่งได้รับความสนใจ จากศิลปินพื้นบ้านเข้าร่วมการประกวดมากมาย

Thai Heritage Conservation Day and the Nang Talung Championship Fair are held in the first week of April. Among the events will be an exhibition of southern traditional plays and the Nang Talung competition, which attracts attention from many regional artists to participate in the competitions.

 

หนังตะลุง 

หนังตะลุง  การแสดงพื้นบ้านของชาวปักษ์ใต้ที่มีมานาน และรู้จักกันแพร่หลายมาถึงปัจจุบัน  แสดงโดยการเชิดตัวหนังให้เคลื่อนไหวท่าทางให้เข้ากับบทพากย์ที่เป็นสำเนียงใต้ ผูกเรื่องให้สนุกสนาน สะท้อนสถานการณ์บ้านเมืองในปัจจุบัน  ซึ่งคาดการณ์ว่าเกิดขึ้นครั้งแรกที่บ้านควนมะพร้าว อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง โดยมีตาหนูนุ้ย และตาหนักทอง ได้เป็นผู้คิดนำหนังวัวมาแกะเป็นรูปและเชิดเล่าเรื่องราวพูดคุยกันโดยใช้เสาหลักซึ่งใช้ล่ามช้าง ที่เรียกว่า ตะลุง

 

Nang Talung, a long-standing and well-known folk performance of the people in the South. It is acted by pulling and moving the character’s gesture to match with the voice acting in a southern accent, making the narrative humorous stories by capturing the nation’s current situations, which is anticipated to take place for the first time in Ban Khuan Maprao, Mueang District, Phatthalung. Ta Noo Nui and Ta Nak Thong came up with the concept of bringing cow hides to carve into images and narrate stories using pillars called “talung” that are used to tether elephants.

ประเพณีวันสงกรานต์  /  งานประเพณีสองศาสนา

Songkran Festival / Dual Religion Festival.

๑๓-๑๕ เมษายน  ๒๕๖๖

เทศบาลเมืองพัทลุง  ๐๗๔ – ๖๑๓๐๐๗  ต่อ ๑๐๔

———————————————————————————————–

งานประเพณีสองศาสนา

๑๕ เมษายน ๒๕๖๖

ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมพิธีเปิดงาน แสง สี เสียง

อำเภอตะโหมด ๐๗๔-๖๙๕๓๘๒

 https://goo.gl/maps/nuoR8Jqhjqf7ZspE8

——————————————————————————————–

โนราโรงครู วัดพระบรมธาตุเจดีย์เขียนบางแก้ว / วันพุธของสัปดาห์แรก เดือน ๖ ของทุกปี

Nora Rong Kru Wat Phra Boromathat Chedi Khian Bang Kaew / Wednesday of the first week of the sixth month of every year.

๒๖-๒๘ เมษายน ๒๕๖๖

วันพุธของสัปดาห์แรก เดือน ๖ ของทุกปี

วัดพระบรมธาตุเจดีย์เขียนบางแก้ว  099 7732894

 https://goo.gl/maps/h1NqTg9dkkFuFS6p9  

โนราโรงครู ประเพณีวัฒนธรรมแห่งความเชื่อ ความศรัทธาของลูกหลานโนรา ที่สืบทอดต่อกันมายาวนาน  งานพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ของคนใต้ที่ต้องอนุรักษ์ไปชั่วลูกชั่วหลาน  กิจกรรมไหว้ครู หรือไหว้ตายายโนรา ซึ่งเป็นบรรพบุรุษ แสดงถึงความกตัญญู -พิธีแก้เหมย (แก้บน) -พิธีครอบเทริด หรือผูกผ้าใหญ่ หรือแต่งพอก ให้กับโนรารุ่นใหม่

Nora Rongkru, the local traditions believe, passed down the faith of Nora’s descendants through generations, which is the sacred ritual of the southern people that must be protected. Wai Kru activities include paying Great Grand Nora, the ancestor who demonstrates thanks, doing the Kae-Mei ritual, adorning a tiara rite, or performing Pook Pha Yai or Tang Pok for the new Noras.


โนราโรงครูวัดท่าแค / วันพุธของสัปดาห์ที่ ๒ เดือน ๖
ของทุกปี

Nora Rongkhru Wat Tha Khae / Wednesday of the 2nd week of the 6th month of every year.

 

๓-๖ พฤษภาคม  ๒๕๖๖

วันพุธของสัปดาห์ที่
๒ เดือน ๖ ของทุกปี

 

เบอร์โทรติดต่อ:
เทศบาลท่าแค  ๐๗๔ ๖๒๑ ๙๖๔
: ๐๘๒๕๑๐๐๐๕๗ 

https://goo.gl/maps/pzhycJRsq2Uwx4bF8  

โนราโรงครู ประเพณีวัฒนธรรมแห่งความเชื่อ ความศรัทธาของลูกหลานโนรา ที่สืบทอดต่อกันมายาวนาน  งานพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ของคนใต้ที่ต้องอนุรักษ์ไปชั่วลูกชั่วหลาน  กิจกรรมไหว้ครู หรือไหว้ตายายโนรา ซึ่งเป็นบรรพบุรุษ แสดงถึงความกตัญญู -พิธีแก้เหมย (แก้บน) -พิธีครอบเทริด หรือผูกผ้าใหญ่ หรือแต่งพอก ให้กับโนรารุ่นใหม่

 

Nora Rongkru, the local traditions believe, passed down the faith of Nora’s descendants through generations, which is the sacred ritual of the southern people that must be protected. Wai Kru activities include paying Great Grand Nora, the ancestor who demonstrates thanks, doing the Kae-Mei ritual, adorning a tiara rite, or performing Pook Pha Yai or Tang Pok for the new Noras.

 

โนราโรงครูเชิดชูขุนอุปถัมภ์นรากร   / วันพุธของสัปดาห์ที่ ๓ เดือน ๖ ของทุกปี    / ณ วัดพิกุลทอง

Nora Rong Kru honors Khun Upatham Narakorn / Wednesday of the 3rd week of the 6th month of every year / at Wat Phikun Thong.

 

๑๐-๑๒  พฤษภาคม  ๒๕๖๖

พิธีกรรมจัดขึ้นในวันพุธของสัปดาห์ที่ ๓ เดือน ๖ ของทุกปี

ณ วัดพิกุลทอง

 

 https://goo.gl/maps/PzFuAkX2T97wa89YA  

โนราโรงครู ประเพณีวัฒนธรรมแห่งความเชื่อ ความศรัทธาของลูกหลานโนรา ที่สืบทอดต่อกันมายาวนาน  งานพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ของคนใต้ที่ต้องอนุรักษ์ไปชั่วลูกชั่วหลาน  กิจกรรมไหว้ครู หรือไหว้ตายายโนรา ซึ่งเป็นบรรพบุรุษ แสดงถึงความกตัญญู -พิธีแก้เหมย (แก้บน) -พิธีครอบเทริด หรือผูกผ้าใหญ่ หรือแต่งพอก ให้กับโนรารุ่นใหม่

 

Nora Rongkru, the local traditions believe, passed down the faith of Nora’s descendants through generations, which is the sacred ritual of the southern people that must be protected. Wai Kru activities include paying Great Grand Nora, the ancestor who demonstrates thanks, doing the Kae-Mei ritual, adorning a tiara rite, or performing Pook Pha Yai or Tang Pok for the new Noras.

แห่ผ้าขึ้นห่มพระธาตุวัดบ้านสวน  / จัดกิจกรรม  วิสาขบูชา

Parade of cloth to cover Phra That Wat Ban Suan / Organizing “Visakha Bucha” Event.

 

๑-๓  มิถุนายน ๒๕๖๖

วันที่จัดกิจกรรม  วิสาขบูชา

ณ  วัดบ้านสวน  ๐๘๑๙๙๐๑๙๔๓

 

 https://goo.gl/maps/VZRTdZnR9gPWZGrA8   

ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ   เป็นความศรัทธาของพุทธศาสนิกชน  ตามแบบพุทธศาสนาในอินเดีย  โดยยึดเอาพระบรมธาตุเจดีย์ อันเป็นเสมือนตัวแทนของพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งทางใจ  โดยการนำผ้าผืนยาวนิยมใช้สีเหลือง สีแดง และสีขาวจะเขียนภาพเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ ออกบวช ตรัสรู้ ปฐมเทศนา และปรินิพพาน  แล้วจัดเป็นขบวนแห่ ขึ้นไปห่มองค์พระบรมธาตุเจดีย์ เรียกว่า แห่พระบฎขึ้นธาตุ ในวันสำคัญทางศาสนา ถือว่าเป็นการบูชาพระพุทธองค์ เพื่อความเป็นสิริมงคลและความสำเร็จในการดำรงชีวิต

 

 

วันเฉลิมพระชนพรรษาพระบรมราชินี / จัดกิจกรรม   วันวิสาขบูชา

Her Majesty the Queen’s Birthday Anniversary / Organizing Visakha Bucha Day activities. 

พิธีสักการะสิ่งศักดิ์สิทธ์ทำบุญบูรพาจารย์  / วัดคูหาสวรรค์

Worship Ceremony for Sacred Things, Making Merit to the masters/ Wat Khuha Sawan.

 

๓ มิถุนายน ๒๕๖๖   วันวิสาขบูชา 

พิธีสักการะสิ่งศักดิ์สิทธ์ทำบุญบูรพาจารย์

 

บริเวณศาลาจตุรมุขพระพุทธนิรโรคันตรายชัยวัฒน์จตุรทิศ

ศาลากลางจังหวัดพัทลุงhttps://goo.gl/maps/dTivxDWkk8zNSdgF8  

 

สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพัทลุง ๐๗๔ ๖๑๗๙๕๘

18.งานสมโภชพระพุทธนิรโรคันตรายชัยวัฒน์จตุรทิศ  และงานกาชาดประจำปี ของดีเมืองลุง

Phra Buddha Niraro Kantrai Chaiyawat Chaturathit Ceremony, and the Annual Red Cross Event, the good stuff in Phatthalung.

 

๙-๑๘  มิถุนายน  ๒๕๖๖

บริเวณศาลาจตุรมุขพระพุทธนิรโรคันตรายชัยวัฒน์จตุรทิศ

ศาลากลางจังหวัดพัทลุง   https://goo.gl/maps/dTivxDWkk8zNSdgF8      

ระพุทธนิรโรคันตรายชัยวัตน์จตุรทิศ

Phra Phuttha Nirarokantrai Chaiwat Chaturathit.

พระพุทธนิรโรคันตรายชัยวัฒน์จตุรทิศ หรือ “พระพุทธรูปสี่มุมเมือง” พระพุทธนิรโรคันตรายชัยวัฒน์จตุรทิศ องค์จำลอง ขนาดหน้าตัก 5 นิ้วซึ่งมีอยู่ 4 องค์ ถูกจัดสร้างขึ้นตามความเชื่อและโบราณประเพณีของบ้านเมืองที่สืบทอดกันมาตั้งแต่ครั้งสมัยกรุงศรีอยุธยา ที่จะต้องมีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ปกป้องขอบขัณฑสีมาทั้งสี่ทิศ โดยการสร้างพระพุทธนิรโรคันตรายชัยวัฒน์จตุรทิศนั้นเป็นการสร้างพระพุทธรูปแบบ “จตุรพุทธปราการ” กล่าวคือเป็นการนำเอาวัดหรือพระพุทธรูปเป็นปราการทั้งสี่ด้าน เพื่อปกป้องภยันตรายจากอริราชศัตรู ปัดเป่าสิ่งชั่วร้าย เสริมสร้างดวงชะตาแก่บ้านเมืองและคุ้มครองพสกนิกรทั้งมวลให้อยู่อย่างร่มเย็นเป็นสุข

Phra Phuttha Nirarokantrai Chaiwat Chaturathit or “Fortification of Buddha images in four sides.” It has a lap size of 5 inches, of which there are 4 images that were built according to the beliefs and ancient traditions. It has been inherited since the Ayutthaya period, which has sacred things to protect the edges of Khantasima in all four directions. Phra Phuttha Nirarokantrai Chaiwat Chaturathit is the creation of a Buddha image as “Chatura Phuttha Prakan” that is the use of a temple or Buddha image as a fortress on all four sides to protect the danger from the enemy, dispel evil, strengthen the fortunes of the country, and protect all the people to live in peace and happiness.

งานย้อนรอยประวัติศาสตร์ รัชกาลที่ ๕    ตามรอยพระพุทธเจ้าหลวง

Retrace the history of King Rama V “Following in the footsteps of Phra Phutta Chao Luang”.

 

๙ – ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๕

บริเวณท่าเทียบเรือเทศบาลตำบลปากพะยูน   ๐๗๔๖๙๙๐๗๓

 

https://goo.gl/maps/K6CJbT1Q2ZKmAgAG8

งานย้อนรอยประวัติศาสตร์ตามรอยพระพุทธเจ้าหลวง จัดขึ้นเพื่อเป็นการน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งเคยเสด็จประพาสแหลมมลายูและประทับแรม ณ หมู่เกาะสี่เกาะห้า ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ดังปรากฏหลักฐานตามพระราชทานจารึกพระปรมาภิไธยย่อ จ.ป.ร.และศักราช ๑๐๘ (พ.ศ.๒๔๓๒) ไว้ที่หน้าผาเทวดาซึ่งเป็นพื้นที่ของตำบลเกาะหมาก อยู่หลังเกาะสี่เกาะห้า และบริเวณหน้าถ้ำน้ำเงิน หรือถ้ำพระ วัดคูหาสวรรค์ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง

Retrospective celebrations in the footsteps of Phra Phutta Chao Luang, held to honor His Majesty King Chulalongkorn’s compassion when he visited the Malayan Peninsula and stayed at Mu Koh Si Koh Ha in Koh Mak Sub-district, Pak Phayun District, Phatthalung. As evidenced by the inscription of the royal monogram Jor Por Ror and 108 Era (B.E. 2432) at Thevada Cliff, in Koh Mak Sub-district, behind Koh Si Koh Ha and in front of the Blue Cave or Phra Cave, Wat Khuha Sawan, in Mueang Phatthalung District.

 

 

หน่วยพิทักษ์ป่าอ่าวท่ายาง

 

https://goo.gl/maps/5USTX8quQqGEdp2g9

งานย้อนรอยประวัติศาสตร์พระพุทธเจ้าหลวง    / ณ หาดแสนสุขลำปำ

 Retrace the history of Phra Phutta Chao Luang / at Saen Suk Lampam Beach.

 

๒๒-๒๕ กรกฎาคม  ๒๕๖๖

 

ณ หาดแสนสุขลำปำ  https://goo.gl/maps/BhJUZxh2CJx6QgG79  

งานย้อนรอยประวัติศาสตร์ตามรอยพระพุทธเจ้าหลวง จัดขึ้นเพื่อเป็นการน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งเคยเสด็จประพาสแหลมมลายูและประทับแรม ณ หมู่เกาะสี่เกาะห้า ตำบลเกาะหมาก อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ดังปรากฏหลักฐานตามพระราชทานจารึกพระปรมาภิไธยย่อ จ.ป.ร.และศักราช ๑๐๘ (พ.ศ.๒๔๓๒) ไว้ที่หน้าผาเทวดาซึ่งเป็นพื้นที่ของตำบลเกาะหมาก อยู่หลังเกาะสี่เกาะห้า และบริเวณหน้าถ้ำน้ำเงิน หรือถ้ำพระ วัดคูหาสวรรค์ ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองพัทลุง

 

Retrospective celebrations in the footsteps of Phra Phutta Chao Luang, held to honor His Majesty King Chulalongkorn’s compassion when he visited the Malayan Peninsula and stayed at Mu Koh Si Koh Ha in Koh Mak Sub-district, Pak Phayun District, Phatthalung. As evidenced by the inscription of the royal monogram Jor Por Ror and 108 Era (B.E. 2432) at Thevada Cliff, in Koh Mak Sub-district, behind Koh Si Koh Ha and in front of the Blue Cave or Phra Cave, Wat Khuha Sawan, in Mueang Phatthalung District.

งานแห่ผ้าห่มพระธรรมเจดีย์     จัดกิจกรรม  อาสาฬหบูชา”     วัดภูผาภิมุข 

Phra Dhamma Chedi Clothes Parade Event, organizing an activity in “Asanha Bucha Day ” at Wat Phu Pha Phimuk.

 

๑ สิงหาคม ๒๕๖๖ อาสาฬหบูชา

วัดภูผาภิมุข  

 https://goo.gl/maps/kw63pKDGggoAvu4w5  

ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ   เป็นความศรัทธาของพุทธศาสนิกชน  ตามแบบพุทธศาสนาในอินเดีย  โดยยึดเอาพระบรมธาตุเจดีย์ อันเป็นเสมือนตัวแทนของพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งทางใจ  โดยการนำผ้าผืนยาวนิยมใช้สีเหลือง สีแดง และสีขาวจะเขียนภาพเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ ออกบวช ตรัสรู้ ปฐมเทศนา และปรินิพพาน  แล้วจัดเป็นขบวนแห่ ขึ้นไปห่มองค์พระบรมธาตุเจดีย์ เรียกว่า แห่พระบฎขึ้นธาตุ ในวันสำคัญทางศาสนา ถือว่าเป็นการบูชาพระพุทธองค์ เพื่อความเป็นสิริมงคลและความสำเร็จในการดำรงชีวิต

งานแห่ผ้าห่มพระนอน วัดรัตนาราม    / วัดรัตนาราม (บ่อหมาแป๊ะ ปากพะยูน)

Reclining Buddha Clothes Parade Event, Wat Rattanaram / Wat Rattanaram (Bor Ma Pae, Pak Phayun).

 

๑๒ สิงหาคม  ๒๕๖๖

วัดรัตนาราม (บ่อหมาแป๊ะ ปากพะยูน)

 https://goo.gl/maps/oB2c8UKpWGRGhsAi8  

ห่มผ้าพระนอน

 

พระนอนหรือพระพุทธไสยาสน์  
ปางไสยาสน์ หรือ ปางสีหไสยาสน์ พุทธลักษณะของพระพุทธเจ้า  ในอิริยาบถบรรทม พิธีการห่มผ้าพระนอน
แสดงถึงการอนุรักษ์ และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีวิถีไทย ที่เคยปฏิบัติสืบทอดกันนานมา
เชื่อว่า ในการห่มผ้าพระนอนนี้จะส่งผลบุญแห่งการประนมกรอัญชลี  ให้มีความร่มเย็นเป็นสุข แก่ตนเองและครอบครัว  ตลอดไป

———————————————————————————————————————————

 

งานประเพณีแข่งโพนลากพระ มหกรรมกลอง 4 ภาค

Pon Lak Phra Traditional Festival, 4 Regions Drum Festival.

 

๒๗-๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๖

เทศบาลเมืองพัทลุง  ๐๗๔ – ๖๑๓๐๐๗  ต่อ ๑๐๔

https://goo.gl/maps/33gMHbZAEHHGefb78   

งานประเพณีแข่งโพนลากพระหรือชักพระ เป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวปักษ์ใต้ จัดขึ้นในช่วงออกพรรษา จัดขึ้นวันที่ ๑๔-๑๕ค่ำ และวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ตรงกับเทศกาลออกพรรษา จะมีงานประเพณีลากพระหรือชักพระ ทั้งทางบกและทางน้ำ สำหรับจังหวัดพัทลุงเป็นการลากพระทางบก จะมีการตีโพน (กลอง) เพื่อควบคุมจังหวะในการลากพระ

เชื่อกันว่า เมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปจำพรรษา เทศนาโปรดพระพุทธมารดา ณ สวรรค์ชั้นดุสิต และเมื่อครบพรรษาจึงเสด็จลงมาจากสวรรค์สู่มนุษย์โลก ทำให้พุทธศาสนิกชนพร้อมใจกันไปรับเสด็จ และอัญเชิญพระพุทธเจ้าขึ้นประดิษฐานบนบุษบก แล้วแห่รอบเมือง จนกลายมาเป็นประเพณีลากพระมาถึงปัจจุบัน ซึ่งชาวบ้านเชื่อกันว่าหากใครได้ลากพระทุกปี จะได้บุญมาก ชีวิตจะรุ่งเรือง สุขสมหวังทุกประการ

Pon Lak Phra or Chak Phra Festival is a regional custom of the people of the south that is celebrated on the 14th–15th day of the waxing moon and the first day of the waning moon of the 11th lunar month, which corresponds to the end of the Buddhist Lent time period. There will be a tradition of Lak Phra or Chak Phra both on land and in the water. For Phatthalung, this involves dragging Buddha statues across the land while beating a Pon (drum) to control the dragging’s rhythm.

 

It is believed that when the Lord Buddha went to Dusit Heaven to please his mother during the Buddha Lent, he descended from heaven to earth, causing Buddhists to gather to receive the Lord Buddha and inviting the Lord Buddha to be enshrined on the lotus flower, which was then paraded around the city until it became a tradition of dragging Buddha statues to the present. The people believe that dragging the Buddha statue every year will bring them a lot of virtue and make all of their wishes come true.

งานวัฒนธรรมประเพณีของดีศรีนครินทร์

Cultural and Tradition Fair, the Good Products of Srinakarin.

สิงหาคม  ๒๕๖๖

ประชาสัมพันธ์ กิจกรรมพิธีเปิดงาน แสง สี เสียง

อำเภอศรีนครินทร์   ๐๗๔- ๖๐๕๗๔๑   

https://goo.gl/maps/z1JduirmBeee2Yrb9  

———————————————————————————————————————————


———————————————————————————————————————————

งานประเพณีลอยกระทง       ณ   หาดแสนสุขลำปำ  

Loi Krathong Festival at Saen Suk Lampam Beach.

27 พฤศจิกายน  2566  

กิจกรรม ประกวดนางนพมาศ -ประกวดกระทง -มหรสพ, การละเล่นต่างๆ

ณ   หาดแสนสุขลำปำ  

https://goo.gl/maps/N7Lg9Bkrz66xSY2r9  

เทศบาลเมืองพัทลุง  ๐๗๔ – ๖๑๓๐๐๗  ต่อ ๑๐๔

26.เทศกาลของหรอยเมืองลุง กินกุ้งสามน้ำ /  ณ บริเวณอาคารประชารัฐพัทลุง

Festival of Roi Mueang Lung, Eating Three Water Prawn / At the Pracharath Building in Phatthalung.

1-3 ธันวาคม 2566

ณ บริเวณอาคารประชารัฐพัทลุง

https://goo.gl/maps/ZFtR6Pt9RotdDZYZ6  

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *